ใบงานที่ 2
ชื่อ ด.ช.ธนพล | นามสกุล จันทร์รักษา | ชั้น ม.2 | เลขที่ 9 |
คำสั่ง: ให้นักเรียนศึกษาจากบทเรียน e-learning และ ค้นคว้าหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต สรุปความหมายของข้อมู ลและสารสนเทศ พร้อมยกตัวอย่างมาให้เข้าใจพิ มพ์ลงในใบงานที่ 2 จากนั้นให้นักเรียน Upload ขึ้นเว็บของนักเรียนเอง
1. ข้อมูลคืออะไร
หมายถึง ข่าวสาร เอกสาร ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับบุคคล สิ่งของหรือเหตุการณ์ที่มีอยู่ในรูปของตัวเลข ภาษา ภาพ สัญลักษณ์ต่างๆ ที่มีความหมายเฉพาะตัว ซึ่งยังไม่มีการประมวลไม่เกี่ยวกับการนำไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ไพโรจน์ คชชา, 2542) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2525) ให้ความหมายของ ข้อมูล(Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือสิ่งที่ถือหรือยอมรับว่าเป็นข้อเท็จจริง สำหรับใช้เป็นหลักอนุมานหาความจริงหรือ การคำนวณ
2. ข้อมูลและสารสนเทศมีความเกี่ ยวข้องและสัมพันธ์กันอย่างไร
ระบบสารสนเทศสร้างขึ้นมาเพื่อจุดมุ่งหมายหลายประการจุดมุ่งหมายพื้นฐานประการหนึ่ง คือ การประมวลข้อมูล (Data) ให้เป็นสารสนเทศ (Information) และนำไปสู่ความรู้ (Knowledge) ที่ช่วยแก้ปัญหาในการดำเนินงาน
3. จงอธิบายองค์ประกอบของเทคโนโลยี สารสนเทศ ดังนี้
- อธิบายความหมายของเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ (Computer Technology)
- อธิบายความหมายของเทคโนโลยี การสื่อสารและโทรคมนาคม (Communication Technology)
1.เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
4. ระบบสารสนเทศมีกี่ประเภทอะไรบ้ างพร้อมทั้งอธิ บายความหมายของแต่ละประเภท
5 ประเภท ได้แก่
1.ฮาร์ดแวร์
-หน่วยรับข้อมูล (input unit) ได้แก่ แผงแป้นอักขระ เมาส์
-หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU)
-หน่วยแสดงผล (output unit) ได้แก่ จอภาพ เครื่องพิมพ์
4. บุคลากร
บุคลากรในระดับผู้ใช้ ผู้บริหาร ผู้พัฒนาระบบ นักวิเคราะห์ระบบ และนักเขียนโปรแกรม เป็นองค์ ประกอบสำคัญในความสำเร็จของระบบสารสนเทศ บุคลากรมีความรู้ความสามารถทาง คอมพิวเตอร์มากเท่าใดโอกาสที่จะใช้งานระบบสารสนเทศและระบบคอมพิวเตอร์ได้เต็ม ศักยภาพและคุ้มค่ายิ่งมากขึ้นเท่านั้น โดยเฉพาะระบบสารสนเทศในระดับบุคคลซึ่งเครื่อง คอมพิวเตอร์มีขีดความสามารถมากขึ้น ทำให้ผู้ใช้มีโอกาสพัฒนาความสามารถของตนเองและ พัฒนาระบบงานได้เองตามความต้องการ สำหรับระบบสารสนเทศในระดับกลุ่มและองค์กรที่มี ความซับซ้อนจะต้องใช้บุคลากรในสาขาคอมพิวเตอร์โดยตรงมาพัฒนาและดูแลระบบงาน
ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ชัดเจนของผู้ใช้หรือของบุคลากรที่เกี่ยวข้องก็เป็นเรื่องสำคัญอีกประการ หนึ่ง เมื่อได้พัฒนาระบบงานแล้วจำเป็นต้องปฏิบัติงานตามลำดับขั้นตอนในขณะที่ใช้งานก็ จำเป็นต้องคำนึงถึงลำดับขั้นตอนการปฏิบัติของคนและความสัมพันธ์กับเครื่อง ทั้งในกรณีปกติ และกรณีฉุกเฉิน เช่น ขั้นตอนการบันทึกข้อมูล ขั้นตอนการประมวลผล ขั้นตอนปฏิบัติเมื่อเครื่อง ชำรุดหรือข้อมูลสูญหาย และขั้นตอนการทำสำเนาข้อมูลสำรองเพื่อความปลอดภัย เป็นต้น สิ่ง เหล่านี้จะต้องมีการซักซ้อม มีการเตรียมการ และการทำเอกสารคู่มือการใช้งานที่ชัดเจน
5. ให้นักเรียนยกตัวอย่ างของโปรแกรมต่อไปนี้
- โปรแกรมประมวลผลคำ (Word Processing)
Microsoft office Word
- โปรแกรมฐานข้อมูล (Database)
dBASE,Access,FokPro
- โปรแกรมการนำเสนอ (Presentation)
Microsoft office Powerpoint
- โปรแกรมออกแบบกราฟิก (Graphics)
Photoshop
- โปรแกรมเว็บบราวน์เซอร์ (Web Browserr)
Google Chrome
6. ระดับของผู้ใช้ระบบสารสนเทศมีกี ่ประเภทอะไรบ้างพร้อมทั้งอธิ บายความหมายของแต่ละประเภท
- ระดับกลาง (Middle Level Management) เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้ใช้งานระดับการบริหารและ จัดการองค์กร ซึ่งมีหน้าที่รับนโยบายมาจากผู้บริหารระดับสูง นำมาสานต่อให้บรรลุตามเป้าหมายที่ กำหนดไว้ ด้วยการใช้หลักบริหารและจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบสารสนเทศที่ใช้มักได้มา จากแหล่งข้อมูลภายใน ระบบสารสนเทศจึงต้องมีการจัดอันดับทางเลือกแบบต่างๆไว้ โดยเลือกใช้ ค่าทางสถิติช่วยพยากรณ์หรือทำนายทิศทางไว้ด้วย หากระดับของการตัดสินใจนั้นมีความซับซ้อน หรือยุ่งยากมากเกินไป
- ระดับปฏิบัติการ (Operation Level Management) ผู้ใช้กลุ่มนี้จะเกี่ยวข้องกับการผลิตหรือการ ปฏิบัติงานหลักขององค์กร เช่น การผลิตหรือประกอบสินค้า งานทั่วไปที่ไม่จำเป็นต้องใช้การ วางแผนหรือระดับการตัดสินใจมากนัก ข้อมูลหรือสารสนเทศในระดับนี้ จะถูกนำไปประมวลผลใน ระดับกลางและระดับสูงต่อไป